วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิจัย

งานวิจัยเรื่องที่ 7 ด้านสติปัญญา (วิทยาศาสตร์)


งานวิจัยเรื่องที่7ด้าน สติปัญญา (วิทยาศาสตร์)

ผู้แต่ง ยุพาภรณ์ ชูสาย

ชื่อเรื่อง 
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

จุดมุ่งหมายของการวิจัย

  1.เพื่อศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  2.เพี่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติก่อนและหลังการทดลอง

สนใจวิจัยฉบับเพิ่มเติม

ความลับของแสง

ความลับของแสง


ความหมาย
แสงคือคลื่นชนิดหนึ่ง เหมือนกับคลื่นของน้ำทะเล มีความยาวของคลื่นสั้นมาก และในขนาดเดียวกันก็เคลื่อนที่เร็วมาก 300,000 กิโลเมตรต่อวินาที เปรียบให้เห็นง่ายๆ ถ้าคนเราวิ่งเร็วเท่าแสง ก็เท่ากับวิ่งรอบโลก 7 รอบใน 1 วินาทีนั้นเอง

ความสำคัญ
ถ้าไม่มีแสง เราก็ไม่สามารถมองเห็นสิ่งต่างๆรอบตัวได้ แสงมีความสำคัญมากกับการดำเนินชีวิตประจำวัน เช่นเราอยู่ในความมือแล้วจู่ๆก็สว่าง เราก็จะแสบตามองเห็นไม่ชัด เกิดจากตายังปรับตัวกับแสงสว่างไม่ทัน การเปลี่ยนแปลงของปริมาณแสงเร็วเกินไป เราก็หลับตาสักพักแล้วลืมตาใหม่ ก็จะเหมือนเดิมนั้นเอง


คุณสมบัติ
คุณสมบัติของแสงเราสามารถนำหลักการมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง นอกจากการมองเห็นสิ่งต่างๆรอบตัวได้แล้ว ยังมีอีก เช่นใช้แผ่นพลาสติกเพื่อบังคับทิศทางของแสงไฟ ที่ออกจากโคมไปยังทิศที่ต้องการ ใช้พลาสติกใสปิดดวงไฟเพื่อลดความจ้าจากหลอดไฟ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าคุณสมบัติแสงดังกล่าวก็ได้นำมาใช้ในชีวิตประจำวันของมนุษย์เราทั้งนั้น

สาเหตุที่เราสามารถมองเห็นวัตถุต่างๆได้นั้น

 ก็เพราะว่า แสงส่องมาโดนวัตถุ แล้วแสงก็จะสะท้อนจากวัตถุเข้ามาสู่ตาของเรา เราเลยมองเห็น เท่ากับว่าตาของเรานั้นคือจอสำหรับแสงที่สะท้อนเข้ามาจากวัตถุนั้นเอง ซึ่งการเดินทางของแสงจะพุ่งออกมาเป็นเส้นตรง ไม่เปลี่ยนทิศทางไปจนไปถึงวัตถุ

วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557






ครูสง่า  สนุกวิทย์ ตอน 2

สรุป

สอนเรื่อง จมเรื่องลอย ของนักประดาน้ำ เกิดขึ้นได้อย่าไร?


     การเรียนวิทยาศาสตร์นอกจากได้ความรู้แล้วยังสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อีกด้วย ครูมีเทคนิคการการสอน มีวิธีการในการเข้าสู่บทเรียน มีแรงจูงใจให้กับเด็ก ครูได้นำนักประดาน้ำมาให้เด็กดูและสาธิตให้เด็กดู เด็กเกินความสงสัย ทำไมนักประดาน้ำลอยได้ จมได้  ครูก็ได้ให้เด็กทำการทดลองนักประดาน้ำ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและระดมความคิดกัน


วิธีการทดลอง

1.เติมน้ำลงในขวดพลาสติกเกือบเต็ม
2.หุ้มปลายปลอกปากกาด้วยดินน้ำมัน ดังรูป
3.วางปลอกปากกาข้อ 2 ลงในขวด แล้ว สังเกตว่าปลอกปากกาลอยและตั้งตรง หรือไม่ถ้าไม่ได้ ให้พยายามจัดใหมโดย ปรับดินน้ำมัน แล้วปิดฝาขวดให้แน่น
4.บีบขวดซึ่งมีฝาปิดแน่น สังเกตสิ่งที่ เกิดขึ้นลองคลายมือ สังเกตอีกครั้ง


ผลการทดลอง

เมื่อบีบขวดทำให้ปริมาตรของขวดลดลง น้ำในขวดมีแรงดันมากขึ้น และดันน้ำเข้าไปในปลอกปากกา ทำให้มีน้ำหนักมากขึ้นจึงจม เมื่อคลายมือออก ปริมาตรขวดจะเพิ่มขึ้นกว่าเดิม แรงดันน้ำจะลดลง น้ำที่อยู่ในปลอกปากกา จะถูกอากาศภายในดันออก ทำให้ปลอกปากกาเบาจึงลอยขึ้น การขึ้นสู่ผิวน้ำและดำลงใต้ผิวน้ำของเรือดำน้ำมีหลักการเช่นเดียวกัน โดยเรือดำน้ำจะมีถังพิเศษซึ่งภายในมีอากาศบรรจุอยู่ เมื่อเรือดำน้ำจะดำลง ใต้น้ำ น้ำจะเข้าไปแทนที่อากาศในถัง ทำให้เรือมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เรือจึงจมลง ใต้น้ำ และในทางกลับกันเมื่อขึ้นสู่ผิวน้ำ อากาศจะถูกปั๊มเข้าไปในถังและ ไล่น้ำออกมา ทำให้เรือมีน้ำหนักน้อยลงจึงลอยขึ้น
อุปกรณ์ที่จำเป็น

Materials
A plastic soda bottle with a cap
ขวดน้ำพลาสติก พร้อมฝา
A glass eye-dropper
ที่หยดที่ทำจากแก้ว
Water
น้ำสะอาด
How to ทำอย่างไร
Fill the plastic soda bottle to the VERY top with water.
เทน้ำใส่ขวดจนเกือบเต็ม
Fill the glass eyedropper 1/4 full with water. You may need to experiment with the amount of water in the pipette to make it work.
ดูดน้ำเข้าไปในที่หยด ประมาณ ¼ ของปริมาตรของมัน หรือทดลองดูว่าต้องมีน้ำอยู่ในที่หยดมากน้อยแค่ไหน เพื่อให้มันสามารถลอยอยู่ได้
Place the eyedropper into the soda bottle. The eyedropper should float and the water in the bottle should be overflowing. Seal the bottle with the cap.
นำที่หยดใส่ลงในขวด มันควรจะลอยอยู่ในน้ำ เสร็จแล้วเติมน้ำจนปริ่มปากขวด เสร็จแล้วก็ปิดฝาขวด
Squeeze the sides of the bottle and notice how the eyedropper (called a diver) sinks. Release your squeeze and it floats back up to the top.
บีบที่ด้านข้างของขวด ทันใดนั้นเราจะเห็นที่หยดทำงานเหมือนนักประดาน้ำ ถ้าปล่อยมือออกมันก็จะลอยกลับขึ้นไปด้านบนเช่นเคย
Squeeze again and observe the water level in the eyedropper (it goes up).
บีบอีกครั้งแล้วสังเกตเห็นว่าระดับน้ำในที่หยดเพิ่มมากขึ้น
Practice making the diver go up and down without making it look like you're squeezing the bottle. Amaze your friends with your ability to make the eyedropper obey your commands!ลองฝึกวิธีที่ทำให้นักดำน้ำขยับขึ้นลง โดยที่มองไม่ออกว่าคุณกำลังบีบขวดอยู่ เพื่อนๆอาจจะสงสัยในพลังลึกลับที่ทำให้ที่หยดฟังคำสั่งของเรา

How does it work? มันทำงานอย่างไร

Squeezing the bottle causes the diver to sink because the increased pressure forces water up into the diver, compressing the air at the top of the eyedropper. This increases the mass, and density, of the diver causing it to sink. Releasing the squeeze decreases the pressure on the air at the top of the eyedropper, and the water is forced back out of the diver.
การบีบขวด ทำให้ที่หยดจมลงเพราะการบีบนั้นไปเพิ่มแรงดันของน้ำที่กดตัวที่หยดอยู่ และทำให้อากาศที่อยู่ในตัวที่หยดหนาแน่นขึ้น เพิ่มมวล ซึ่งทำให้ที่หยดจมลงในเวลาต่อมา การปล่อยขวดที่เราบีบไว้ลดแรงดันอากาศในที่หยดและน้ำก็ไหลกลับเข้าไปในที่หยด



วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Lesson 15

Recent Posts

Science Experiences Management for Early Childhood

28 November 2014
Time 13:00 to 16:40 pm.

Knowledge

อาจารย์ให้นักศึกษาออกแบบการ์ดให้ความรู้สารสัมพันธ์บ้านโรงเรียน

เราต้องให้ความรู้ผู้ปกครองซึ่งมีหลายวิธี องค์ประกอบในแผ่นพับ มี ชื่อโรงเรียน  โลโก้  หน่วยที่สอน  ข้างในมีเนื้อหาเพื่อเป็นข้อมูลให้กับผู้ปกครอง และมีจุดประสงค์ด้วย 
 

สิ่งทีนำไปพัฒนา  นำเทคนิคที่อาจารย์สอนไปปรับใช้ เช่นการทำแผ่นพับสานสัมพันธ์ ควรทำให้มีความน่าสนใจ ให้ภายในแผ่นพับนั้นมีเนื้อหาที่เป็นความรู้ให้กับผู้ปกครองและมีกิจกรรมหรือบทเพลงที่ผ๔้ปกครองสามารถนำไปท่อง หรือทายเล่นกับลูกได้
ประเมินตนเอง      ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงเวลา แต่งกายเรียบร้อย และช่วยเพื่อนทำงาน ทำการ์ดให้ความรู้แก่ผู้ปกครองสารสัมพันธ์บ้านโรงเรียน 
ประเมินเพื่อน        เพื่อนแต่ละกลุ่มมตั้งใจทำแผ่นการ์ด เมื่อมีข้อสงสัยก็ถามอาจารย์ 
ประเมินอาจารย์    อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับสารสัมพันธ์ว่ามีองค์ประกอบอะไรบ้าง และตั้งใจสอนนักศึกษาใส่ใจกับนักศึกษาทุกคน 



Lesson 14

Recent Posts

Science Experiences Management for Early Childhood

21 November 2014
Time 13:00 to 16:40 pm.


อาจารย์ให้เพื่อนออกมาส่งสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ตั้งเกณฑ์แบ่งประเภทของเล่นต่างๆ

Activity:Media

มุมลม

มุงแรงโน้มถ่วง

มุมเสียง




มุมต่างๆสื้อประดิษฐิ์วิทยาศาสตร์

เพื่อนออกมานำเสนองานวิจัย-โทรศัทน์ครู

นางสาวววรวิภา โพธิ์งาม
ชื่อวิจัย การทำน้ำดื่มสมุนไพร
รูปแบบการจัดกิจกรรม 
-กิจกรรมการร้องเพลง คำคล้องจอง
ครูและเด็กร่วมกันทำน้ำฝรั่ง

กัตติกา  สบานงา
ทักษะการสังเกต
ทักษะการจำแนก
ทักษะการสื่อสาร

นางสาวสิโรธร  ลอองเอก
ครูและเด็กร่วมกันทำไก่กระต๊าก

พิชากร  แก้วน้อย (โทรทัศน์ครู)
กิจกรรมส่องนกในโรงเรียน
-นอกห้องเรียน
-ศึกษาเรียนรู้ชนิดนก
-สังเกตุเสียงของนก
ครูและเด็กร่วมกันทบทวนชนิดของนก

การทำ Cooking  วาฟเฟิล Weffles


อุปกรณ์การทำวาฟเฟิล


อาจารย์แนะนำอุปกรณ์การทำวาฟเฟิล


วิธีการกวนแป้งสำหรับทำวาฟเฟิล


วิธีการกวนแป้งสำหรับทำวาฟเฟิล


รอนำอบ


วาฟเฟิลแสนอร่อย


สิ่งที่นำไปพัฒนา   การแยกประเภทของเล่นวิทยาศาตร์ควรจัดเป็นหมวดหมู่ และการทำขนมถ้าเราใส่ปริมาณน้ำมากจนเกิดไปจะทำให้ขนทออกมาไม่สวยงามและใส่ในปริมาณที่เหมาะสมไม่มากหรือน่อยจนเกินไป



ประเมินตนเอง    ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์ให้คำแนะนำ สนุกมากค่ะกับการทำขนมตื่นเต้นมาก  แต่วันนี้พูดไม่เพราะต้องขอโทษอาจารย์ด้วยค่ะ
ประเมินเพื่อน      เพื่อนออกไปนำเสนองานวิจัยและบทความ และสนุกกับทำขนมเพื่อนบางคนไม่ทำตามสิ่งที่อาจารย์บอกจึงทำให้การทำขนมช้า
ประเมินอาจารย์  อาจารย์อธิบายบอกขั้นตอนวิธีการทำขนม


Lesson 13

Recent Posts

Science Experiences Management for Early Childhood

14 November 2014
Time 13:00 to 16:40 pm.


The lnstructor


Group 7:หน่วยเรื่องแปรงสีฟัน


เพลงสวัสดี
สวัสดีคุณครูที่รัก                     หนูจะตั้งใจอ่านเขียน  
ยามเช้าเรามาโรงเรียน(ซ้ำ)     หนูจะพากเพียรขยันเรียนเอย

เพื่อนออกมาสอนเรื่องแปรงสีฟัน
ชนิดของปรงสีฟัน(วันที่1)
คำคล้องจอง
แปรงสีฟันมีหลายชนิด    แต่ละชนิดมีดีต่างกัน
แปรงสีฟันไฟฟ้านั้น         รวดเร็วพลันใช้ได้อย่างดี
แปรงสีฟันผู้ใหญ่ก็มี        สะอาดดีเพราะเราแปรงฟัน

Group 8:หน่วยผีเสื้อ

ขั้นสอน
1.ดูรูป
2.ถามเด็กๆว่าผีเสื้อชื่ออะไร
3.สังเกตลักษณะะสี  ขนาด รูปร่าง ส่วนประกอบ
4.บันทึกลงในตาราง
5.หาความสัมพันธ์ เหมือน ต่าง 
6.ทบทวน เรื่องลักษณะของผีเสื้อ


Group 9:เรื่องกล้วย


พลงกล้วย
กล้วยคือผลไม้  ใครๆก็ชอบกินกล้วย
ค้างคาว ช้างลิงกินกล้วย  กินกล้วยมีวิตามิน
1.แยกกล้วยหอมและไม่ใช่กล้วยหอม
2.เด็กหยิบออกมาเพื่อพิสูจน์โดยการหยิบ 1: 1
3.เหลือกล้วยที่ไม่ใช่กล้วยหอมกี่อัน
4.อันไหนหมดก่อน กล้วยหอมหมดก่อนกล้วยที่ไม่ใช่กล้วยหอมเหลือ 1 แสดงว่ากล้อยหอมน้อยกว่ากล้วยที่ไม่ใช่กล้วยหอม

ทำทาโกะยากิข้าว

อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำ Cooking ต้องจัดโต๊ะให้เป็นหมวดหมู่


อาจารย์สาธิตการทำอาหาร


การทำอาหาร
นำเสนองานวิจัย
นางสาวอริศา ยุนุห์ 
1.เรื่องเรื่องความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์นอกห้องเรียน  ดูเพิ่มเติม
การดำเนินการ--หน่วยเดียวกันต่างกันที่จัดกิจกรรม
ครูใช้คำถาม
ด้านคุณลักษณะ--สี รูปร่าง รูปทรง
ด้านปริมาณ---การปริมาณสถานที่หนึ่งกับสถานที่หนึ่ง
การเปลี่ยนแปลง
ผลการวิเคราะห์   จัดประสบการณ์นอกห้องเรียนมีผลในการส่งเสริมกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2.เรื่องความสามารถในการคิดวิเคาระห์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมขบวนกสรวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยดูเพิ่มเติม
 การประเมิน

ประเมินตนเอง    ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์ให้คำแนะนำกลุ่มเพื่อนที่ออกมานำเสนอแผน ชอบตอนทำ Cooking มากค่ะ
ประเมินเพื่อน     เพื่อนตั้งใจฟังอาจารย์ให้คำแนะนำบางส่วน และสนุกสนานในการทำ Cooking มาก และตั้งใจตอบคำถามและฟังเพื่อนเสนองานวิจัย
ประเมินอาจารย์ อาจารย์ตั้งใจสอน และให้คำแนะนำอย่างละเอียดมากใช้คำถามถามนักศึกษาว่าเข้าใจและสามาถอธิบายถูกต้องหรือไม่ เพราะอยากให้นักศึกาษาเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการสอนจริงๆเมื่อไปฝึกสอนจะได้สอนได้ถูกต้อง




Lesson 12

Recent Posts

Science Experiences Management for Early Childhood

21 October 2014
Time 13:00 to 16:40 pm.



The lnstructor

 Group 1 : หน่วยกบ 




ขั้นนำ : บอกส่วนประกอบของกบและความแตกต่างระหว่างกบนา กับ กบ บลูฟร็อก

ขั้นสอน :1.ร้องเพลงกบ
       2. ครูมีรูปภาพกบนา  กับ กบปลูฟร็อก มาให้เด็กดู และให้เด็กบอกระหว่างความแตกต่างของกบทั้ง 2 ชนิด จากนั้น ครูเขียนตามที่เด็กบอกลงในแผ่นชาร์ต

ขั้นสรุป : ครูและเด็กช่วยกันอ่านความแตกต่างระหว่าง กบทั้ง 2 ชนิด ร่วมกัน


 Group 2 : หน่วยกะหล่ำปลี



ขั้นนำ:ให้การตบมือเพื่อเก็บเด็กให้มีความพร้อมที่จะเรียน
ขั้นสอน:ร้องเพลงกะหล่ำปลี

**ขาว ขาว ขาว หนูเคบเห็นขาวบ้างหรือเปล่า
แอะ มันคือกะหล่ำปลี  ดูซิ ดูซิ น่าลองจัง
หวาน หวาน กรอบ กรอบ สีสวยดี ทำอาหารน่ากิน
ขั้นสรุป: ถามเด็กว่ากะหล่ำลีมีประโยชน์อย่างไร

 Group 3 :เรื่องส้ม


ขั้นนำ:ร้องเพลง

ตบมือเปาะแปะ เรียกแพะเข้ามา แพะไม่มา ปิดประตูรูดซิบ *
ขั้นสอน:ครูสาธิตการทำน้ำส้มคั้นให้เด็กดู และขอตัวแทนเด็ก2คน ออกมาทำน้ำส้มคั่น ซึ้งครูอธิบายการทำน้ำส้มคั่น

 Group 4: ประโยชน์ของดอกมะลิการทำอาหาร


ขั้นนำ:บอกส่วนประกอบ และวิธีการทำดอกมะลิชุบแป้งทอด
ขั้นสอน:สาธิตการทำและให้เด็กแบ่งกลุ่ม และค่อยให้เด็กสังเกตและใช้คำถามกระตุ้น

 Group 5:วิธีการเลี้ยงดูไก่

ขั้นนำ:ท่องคำคล้องจองเกี่ยวกับไก่ โดยให้ท่องตามครู1รอบแล้วท่องพร้อมๆกัน
*กอไก่กุ๊กกุ๊ก       เข้าอยู่ทุ่งนา
สายอยู่ทุ่งหญ้า   เย็นพาเข้าสุ่ง
เดินย่องยุ้มๆ       ทั้งเขี่ยอาหาร
รวมทั้งพืชผัก      ข้าวเปลือกข้าวสาร
ที่เป็นอาหาร        ทั้งหนอนใส้เดือน
แล้วทุกหกเดือน  ต้องฉีดวัคซีน
เพื่อป้องกันโรค    ให้ไก่แข็งแรง


 Group 6: หน่วยปลา

ขั้นนำ:บอกส่วนประกอบของการทอกปลาทู
ขั้นสอน: พาเด็กทอดปลาทู

การประเมิน
ประเมินตนเอง     สนุกตื่นเต้นเวลาที่เพื่อนออกมานำเสนอ กลุ่มที่ ออกมาทำอาหารทำให้หิวมากค่ะ ได้ชิม ดอกมะลิทอด ปลาทูทอด น้ำส้ม ด้วย และตอนที่ดิฉันออกไปสอนควบคุมสติไม่ได้ตื่นเต้น จากที่เตรียมมาลืมหมดเลย จะพยายามอีกค่ะครั้งต่อไป

ประเมินเพื่อน      เพื่อนๆตั้งใจฟังเวลาที่แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ และให้ความร่วมมือเวลาที่เพื่อนขอตัวแทนออกมาทำกิจกรรมหน้าห้อง 

ประเมินอาจารย์    อาจารย์ให้คำแนะนำข้อเสนอแนะเกี่ยวกับวิธีที่จะสอน เช่น ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุปกับนักศึกษาดีมาก